เป้าหมาย (Understanding Goal)

วันเสาร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

Mind mapping

เป้าหมายหลัก
               นักเรียนเข้าใจเห็นความสำคัญ สามารถคิด แสวงหาและจัดการข้อมูลเพื่อสร้างชุดความรู้ต่างๆได้ด้วยตนเอง รวมทั้งนำเสนอข้อมูลและเอื้อเฟื้อข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้
คำถามหลัก
               1. การจัดการชุดความรู้สำคัญและจำเป็นอย่างไร
               2. นักเรียนจะจัดการชุดความรู้และถ่ายทอดความเข้าใจได้อย่างไร
ภูมิหลัง
             ปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ข้อมูลข่าวสารต่างๆ คนในสังคมสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว มีหลายช่องทางเช่น ผ่านสื่อออนไลน์ หนังสือประเภทต่างๆ ฯลฯ มากกว่าในอดีต แต่ข้อมูลที่หลากหลายนั้นก็แฝงมาด้วยข้อมูลจริงและเท็จ  แหล่งที่มา ความถูกต้องของเนื้อหา การจัดการชุดความรู้ได้ด้วยตนเองจึงมีความสำคัญและจำเป็นสำหรับคนในยุคปัจจุบัน
             ดังนั้นจากที่กล่าวมาข้างต้นจึงเป็นที่ของการเรียนรู้ หน่วย การจัดการชุดความรู้ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเห็นความสำคัญ สามารถคิด แสวงหาและจัดการข้อมูลเพื่อสร้างชุดความรู้ต่างๆได้ด้วยตนเอง รวมทั้งนำเสนอข้อมูลและเอื้อเฟื้อข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้

Mind Mapping

ผัง Web เชื่อมโยงสาระการเรียนรู้


ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
 หน่วย : การจัดการชุดความรู้
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
Week
Input
Process
Output
Outcome
1
โจทย์: เรื่องที่อยากเรียนรู้
คำถาม :
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter นี้ เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้
- การจัดการชุดความรู้สำคัญและจำเป็นอย่างไร
- เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง
- ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร
- จะทำให้เข้าใจง่ายได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Card and Chart
- Place met
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
 - นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- ชุดคำถามมาตรฐานการเรียนรู้สาระต่างๆ
- ครูจัดบรรยากาศในห้องเรียนเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
- แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับชุดคำถามมาตรฐานการเรียนรู้สาระต่างๆ(การบ้านปิดเรียน)
- ใช้เครื่องมือคิด Card and Chart
ขั้นที่ 1 เราต้องมีความรู้เรื่องอะไรบ้าง เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง
ขั้นที่ 2 ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร
ขั้นที่ 3 จะนำเสนอให้เข้าใจง่ายได้อย่างไร
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
การจัดการชุดความรู้สำคัญและจำเป็นอย่างไร ผ่านเครื่องมือคิด Place met
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter นี้ ผ่านเครื่องมือคิด 
Card and Chart พร้อมให้เหตุผลว่าเพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้ เรื่องนั้น
- นักเรียนจัดบรรยากาศในห้องเรียนให้สอดคล้องกับหน่วยที่เรียน
- ตั้งชื่อหน่วย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับชุดคำถามมาตรฐานการเรียนรู้สาระต่างๆ
- จัดบรรยากาศในห้องเรียน
- ตั้งชื่อหน่วย
ชิ้นงาน
- Card and Chart ขั้นที่ 1- ขั้นที่ 3
- Place met การจัดการชุดความรู้สำคัญและจำเป็นอย่างไร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นส่งงานตรงต่อเวลา
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น

2
โจทย์: วางแผนการเรียนรู้ 
คำถาม :
นักเรียนจะออกแบบวางแผนการเรียนรู้ให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
- Mind Mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- บรรยากาศในห้องเรียน
- กระดาษ
กระบวนการวางแผนการเรียนรู้
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
- ทำปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์
- เขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน  
- วาดภาพตกแต่งหน้าห้องเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
นำเสนอปฏิทินการเรียนรู้

ชิ้นงาน
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
(Mind Mapping)
ทำสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ (แผ่นใหญ่)
ทำเค้าโครงปฏิทินการเรียนรู้แต่ละสัปดาห์
ทำปฏิทินการเรียนรู้(แผ่นเล็ก)
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
สามารถทบทวนความรู้ความเข้าใจก่อนเรียนผ่านการเขียนสิ่งที่รู้แล้ว, Mind Mapping และสามารถออกแบบวางแผนกระบวนการเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นส่งงานตรงต่อเวลา
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
3
โจทย์:  สารและสมบัติของสาร
คำถาม :
- นักเรียนจะนำเสนอเรื่องสารและสมบัติของสารให้ครูและเพื่อนๆเข้าใจได้อย่างไร
- สถานะของสารแต่ละประเภทเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
- สมบัติของสารแต่ละประเภท
เป็นอย่างไร จะมีวิธีการแยกสารได้อย่างไร
- สารที่ใช้ในชีวิตประจำวันมีอะไรบ้าง ใช้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
 - นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- น้ำเปล่าเหล็ก, เทียนไข, ลูกเหม็น
- แบบบันทึกผล
- กระดาษ ปรู๊ฟ /กระดาษ A4
- ครูนำสิ่งของ 4 อย่างมาให้นักเรียนดู ( น้ำเปล่า,  เหล็ก, เทียนไข, ลูกเหม็น) ครูตั้งคำถามเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
- บันทึกผลลงในตางรางที่ครูแจกให้ ( ชื่อสิ่งของ, รูปร่าง ลักษณะ, สถานะ (ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ อื่นๆ), การนำไปใช้ )
- นำเสนอใหครูและเพื่อนๆฟัง เพื่อนๆช่วยเพิ่มเติมในส่วนที่คิด แตกต่างๆ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม นักเรียนจะนำเสนอเรื่องสารและสมบัติของสารให้ครูและเพื่อนๆเข้าใจได้อย่างไร
- จับคู่ ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสารและสมบัติของสาร จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเช่น ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต ผู้รู้
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆเช่น คลิป, การ์ตูนช่อง, โมเดล, การทดลอง,  Mind Mapping ฯลฯ เป็นต้น
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ผ่านการตั้งคำถามจากครูและเพื่อนๆ
- สรุปความเข้าใจเรื่องสารและสมบัติของสาร( ผ่านอินโฟกราฟิก 1 แผ่น A4)
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม (Flip your classroom )

ภาระงาน
- สังเกตและบันทึกผลจากสิ่งของที่ครูนำมาให้ดู
- จับคู่ ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสารและสมบัติของสาร
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆ
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ครูและเพื่อนๆร่วมตั้งคำถาม
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม

ชิ้นงาน
- ชิ้นงานที่หลากหลาย สื่อความเข้าใจของตนเอง เช่น คลิป, การ์ตูนช่อง, โมเดล, การทดลอง Mind Mapping ฯลฯ
- อินโฟกราฟิก เรื่องสารและสมบัติของสาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ความรู้
เข้าใจ และสามารถอธิบายเกี่ยวกับสารและสมบัติต่างๆของสาร ผ่านชิ้นงานที่หลากหลาย รวมทั้งสามารถเลือกใช้สารในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- ส่งงานตรงเวลา
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
4
โจทย์:  ระบบต่างๆของคน สัตว์ พืช
คำถาม :
- ระบบต่างๆในร่างกายของ
คนเราเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร
- คน สัตว์ พืช มีระบบร่างกาย เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
- สัตว์มีกี่ประเภทระบบ
ร่างกายเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
- นักเรียนจะนำเสนอเรื่องระบบต่างๆของคน สัตว์ให้ครูและเพื่อนๆเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- หุ่นจำลองร่างกายมนุษย์
- คลิประบบต่างๆของร่างกาย
- ครูนำหุ่นจำลองร่างกายมนุษย์ มาให้นักเรียนดู

ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด (เห็นอะไร รู้สึกอย่างไร เกี่ยวข้องกับตัวเราอย่างไร แต่ละส่วนทำหน้าที่อย่างไร ถ้าส่วนใดหายไปจะเกิดอะไรขึ้น เพราะเหตุใด)
- ครูเปิดคลิประบบต่างๆของร่างกาย


- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะนำเสนอเรื่องระบบต่างๆของคน สัตว์ให้ครูและเพื่อนๆเข้าใจได้อย่างไร
- แบ่งกลุ่มกลุ่มละ 3 คน ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบต่างๆ ของสัตว์ พืช จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเช่น ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต ผู้รู้
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆเช่น แผ่นพับ, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้,  Mind Mapping ฯลฯ เป็นต้น
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ผ่านการตั้งคำถามจากครูและเพื่อนๆ
- สรุปความเข้าใจเรื่องระบบต่างๆของคน สัตว์ พืช ( ผ่านอินโฟกราฟิก 1 แผ่น A4)
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม (Flip your classroom )

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับหุ่นจำลองร่างกายมนุษย์ คลิป
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆ
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ครูและเพื่อนๆร่วมตั้งคำถาม
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม

ชิ้นงาน
- ชิ้นงานที่หลากหลาย สื่อความเข้าใจของตนเอง เช่น แผ่นพับ, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้,  Mind Mapping ฯลฯ
- อินโฟกราฟิกเรื่องระบบต่างๆ
ขอคน สัตว์ พืช
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจ และสามารถอธิบายเกี่ยวกับระบบต่างๆของคน สัตว์ ผ่านชิ้นงานที่หลากหลาย รวมทั้งสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- ส่งงานตรงเวลา
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
5
โจทย์:   พลังไฟฟ้า
คำถาม :
- นักเรียนจะนำเสนอเรื่องพลังงานไฟฟ้าให้ครูและเพื่อนๆเข้าใจได้อย่างไร
- การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน และแบบอนุกรมเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
- นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ปรับใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- อุปกรณ์ต่อวงจรไฟฟ้า
- นักเรียนจะทำอย่างไรให้หลอดไฟสว่าง
- ครูแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 คนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการต่อวงจรไฟฟ้า ออกแบบ วางแผนร่วมกันในกลุ่ม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์ตามที่ออกแบบวางแผนไว้ เช่นหลอดไฟ สวิทซ์ไฟ สายไฟ ถ่านไฟฟ้า เป็นต้น
- ลงมือปฏิบัติ สรุปผล นำเสนอผลการทดลอง
- ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเรื่องพลังงานไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน แบบอนุกรม การนำไปใช้งาน
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆเช่น แผ่นพับ, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้,  Mind Mapping ฯลฯ เป็นต้น
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ผ่านการตั้งคำถามจากครูและเพื่อนๆ
- สรุปความเข้าใจเรื่องพลังงานไฟฟ้า ( ผ่านอินโฟกราฟิก 1 แผ่น A4)

- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม (Flip your classroom )



ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการต่องวงจรไฟฟ้า
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆ
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ครูและเพื่อนๆร่วมตั้งคำถาม
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม

ชิ้นงาน
- แบบวงจรไฟฟ้าแต่ละกลุ่ม
- ชิ้นงานวงจรไฟฟ้าที่ต่อเสร็จ
- ชิ้นงานที่หลากหลาย สื่อความเข้าใจของตนเอง เช่น แผ่นพับ, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้,  Mind Mapping ฯลฯ
- อินโฟกราฟิก เรื่องพลังงานไฟฟ้า
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจ และสามารถอธิบายเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า ผ่านชิ้นงานที่หลากหลาย รวมทั้งยังสามารถต่อวงจรไฟฟ้าได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- ส่งงานตรงเวลา
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
6
โจทย์:   หิน แร่
คำถาม :
- นักเรียนจะนำเสนอเรื่องหินให้ครูและเพื่อนๆเข้าใจได้อย่างไร
- หินมีกี่ประเภท มีวิธีจำแนกอย่างไร
- หินแต่ละประเภทมีประโยชน์อย่างไร
- หิน กับแร่ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- หินต่างๆ
- ครูนำหินลักษณะต่างๆมีให้นักเรียนดู (เห็นอะไร รู้สึกอย่างไร เกี่ยวข้องกับตัวเราอย่างไร เห็นสิ่งเหล่านี้ที่ไหน จัดกลุ่มได้อย่างไร เพราะเหตุใด)
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะนำเสนอเรื่องหินให้ครูและเพื่อนๆเข้าใจได้อย่างไร
- แบ่งกลุ่มกลุ่มละ 3 คน ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับหิน (ประเภท การนำไปใช้ การเกิด อื่นๆ) จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเช่น ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต ผู้รู้
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆเช่น อินโฟกราฟิก, Mind Mapping, โมเดล, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ เป็นต้น
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ผ่านการตั้งคำถามจากครูและเพื่อนๆ
- สรุปความเข้าใจเรื่องหิน แร่ ( ผ่านอินโฟกราฟิก 1 แผ่น A4)

- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม (Flip your classroom )

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับหินที่ครูเตรียมมา
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆ
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ครูและเพื่อนๆร่วมตั้งคำถาม
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม

ชิ้นงาน
- ชิ้นงานที่หลากหลาย สื่อความเข้าใจของตนเอง เช่น อินโฟกราฟิก, Mind Mapping, โมเดล, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ
- อินโฟกราฟิก เรื่องหิน แร่
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจ และสามารถอธิบายเกี่ยวกับหิน แร่ ผ่านชิ้นงานที่หลากหลาย รวมทั้งยังสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- ส่งงานตรงเวลา
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
7
โจทย์:   ดาราศาสตร์และอวกาศ
คำถาม :
- เทคโนโลยีอวกาศเกี่ยวข้องกับตัวเราอย่างไร
- ระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพเป็นอย่างไร
- ปรากฏการณ์ต่างๆเกิดขึ้นได้อย่างไร ส่งผลต่อสิ่งต่างๆอย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- คลิปสารคดี ท่องโลกกว้างตอน ตำแหน่งของโลกเราในกาแล็กซี่ทางช้างเผือก
- ครูเปิดคลิปสารคดี ท่องโลกกว้างตอน ตำแหน่งของโลกเราในกาแล็กซี่ทางช้างเผือก

- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับคลิปที่ได้ดู ผ่านคำถาม เห็นอะไร รู้สึกอย่างไร เราจะอย่างไร เชื่อหรือไม่เพราะเหตุใด ฯลฯ
- แบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 คน สรุปสิ่งที่ได้จากคลิปสารคดี ท่องโลกกว้างตอน ตำแหน่งของโลกเราในกาแล็กซี่ทางช้างเผือก
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆเช่น อินโฟกราฟิก, Mind Mapping, โมเดล, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ เป็นต้น
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ผ่านการตั้งคำถามจากครูและเพื่อนๆ
- สรุปความเข้าใจเรื่องดาราศาสตร์และอวกาศ ( ผ่านอินโฟกราฟิก 1 แผ่น A4)
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม (Flip your classroom )



ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับคลิปที่ได้ดู
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆ
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ครูและเพื่อนๆร่วมตั้งคำถาม
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม

ชิ้นงาน
- ชิ้นงานที่หลากหลาย สื่อความเข้าใจของตนเอง เช่น อินโฟกราฟิก, Mind Mapping, โมเดล, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ
- อินโฟกราฟิก เรื่องดาราศสตร์และอวกาศ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจ และสามารถอธิบายเกี่ยวกับดาราศาสตร์และอวกาศ ผ่านชิ้นงานที่หลากหลาย รวมทั้งยังสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- ส่งงานตรงเวลา
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
8
โจทย์:   ประวัติศาสตร์
คำถาม :
- เหตุการณ์ในอดีตส่งผลต่อปัจจุบันอย่างไร
- เชื่อได้อย่างไรว่าประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในอดีตคือเหตุการณ์จริง
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Place met
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- แบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม (อยุธยา ธนบุรี สุโขทัย รัตนโกสินทร์)
- แต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องราวที่มา การเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจ การปกครอง วิถีความเป็นอยู่ ฯลฯ
- จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเช่น ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต ผู้รู้
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆเช่น อินโฟกราฟิก, Mind Mapping, โมเดล, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้, Time line ฯลฯ เป็นต้น
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ผ่านการตั้งคำถามจากครูและเพื่อนๆเช่น
- เชื่อได้อย่างไรว่าประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในอดีตคือเหตุการณ์จริง
- เหตุการณ์ในอดีตส่งผลต่อปัจจุบันอย่างไร
- สรุปความเข้าใจเรื่องประวัติศาสตร์ ( ผ่านอินโฟกราฟิก 1 แผ่น A4)
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม (Flip your classroom )

ภาระงาน
- ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลตามหัวข้อที่ได้
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆ
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ครูและเพื่อนๆร่วมตั้งคำถาม
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม

ชิ้นงาน
- ชิ้นงานที่หลากหลาย สื่อความเข้าใจของตนเอง เช่น อินโฟกราฟิก, Mind Mapping, โมเดล, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้, Time line ฯลฯ
- อินโฟกราฟิก เรื่องประวัติศาสตร์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจประวัติศาสตร์และเรื่องราวความเป็นมาของประเทศไทย  สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- ส่งงานตรงเวลา
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบต่อหน้าที่
9
โจทย์:   ภูมิศาสตร์ไทย
คำถาม :
- ภูมิศาสตร์ของประเทศไทยเป็นอย่างไร
- ดิน น้ำ ป่าไม้ และแร่ธาตุของไทยเป็นอย่างไร
- แต่ละภูมิภาคของไทยเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- คลิปภูมิศาสตร์ประเทศไทย
- ครูนำแผนที่ ลูกโลก เข็มทิศ มาให้นักเรียนดู (สังเกตเห็นอะไร แต่ละอย่างเกี่ยวข้องกันอย่างไร นำไปใช้ได้อย่างไร)
- ครูเปิดคลิปภูมิศาสตร์ประเทศไทยให้นักเรียน
ดู

- แบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 คน สรุปสิ่งที่ได้จากคลิปภูมิศาสตร์ประเทศไทย
- จัดกระทำข้อมูลที่ได้เพื่อสื่อความเข้าใจ ผ่านชิ้นงานต่างๆเช่น อินโฟกราฟิก, Mind Mapping, โมเดล, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้ ฯลฯ เป็นต้น
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ผ่านการตั้งคำถามจากครูและเพื่อนๆ
- สรุปความเข้าใจเรื่องภูมิศาสตร์ไทย ( ผ่านอินโฟกราฟิก 1 แผ่น A4)
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม (Flip your classroom )

ภาระงาน
- ดูคลิป สรุปสิ่งที่ได้จากคลิป
- นำเสนออภิปรายร่วมกัน ครูและเพื่อนๆร่วมตั้งคำถาม
- สร้างชุดคำถามจากเรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้พร้อมตอบคำถาม

ชิ้นงาน
- ชิ้นงานที่หลากหลาย สื่อความเข้าใจของตนเอง เช่น อินโฟกราฟิก, Mind Mapping, โมเดล, การ์ตูนช่อง, ชาร์ตความรู้, Time line ฯลฯ
- อินโฟกราฟิก เรื่องภูมิศาสตร์ไทย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ของประเทศไทยได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- ส่งงานตรงเวลา
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบต่อหน้าที่
10
โจทย์ :สรุปองค์ความรู้ 
คำถาม:
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนหน่วยการจัดการชุดความรู้และจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
สิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนามีอะไรบ้าง
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเปิดบ้านครั้งนี้
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Place met
- Wall Thinking
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- คุณครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- สื่ออุปกรณ์ในการจัดนิทรรศการ
- ห้องเรียน
- กระดาษ A4/A3
- บรรยากาศในห้องเรียน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด 
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนหน่วยการจัดการชุดความรู้และจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นักเรียนและครูร่วมกันประเมินเพื่อสะท้อนผลงาน
-  นักเรียนระดมความคิดเขียน สิ่งที่ทำได้ดี และ สิ่งที่ควรพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนหน่วยเรื่องการจัดการชุดความรู้
- ซ้อมนำเสนอผลงาน
- เปิดบ้าน นำเสนอผลงาน ผ่านนิทรรศการ
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด 
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเปิดบ้านครั้งนี้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
เขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนาต่อ
จัดบรรยากาศในห้องเรียน เตรียมเผยแพร่องค์ความรู้
ซ้อมนำเสนองาน
- เปิดบ้าน
เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นิทรรศการ
- Place met สิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนาต่อ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้หลังเรียนผ่าน Mind Mapping และ ถ่ายทอดความเข้าใจให้คนอื่นเข้าใจ ผ่านนิทรรศการได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- มั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ผ่านการจัดนิทรรศการ
- มีความพยายาม อดทนในการเตรียมความพร้อมในการนำเสนองานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น



ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
- สร้างฉันทะ/สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้ว   สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน

มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(ว 8.1 ป.6/1 )
- วางแผนการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า  เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการศึกษาค้นคว้า 
(ว 8.1 ป.6/2)
- สร้างคำถามใหม่จากสิ่งที่อยากเรียนรู้ และประเด็นปัญหาที่อยากแก้ไข (ว 8.1  ป.6/5)
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
(ว 8.1 ป.6/6 )
 - นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1  ป.6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
(1.1 .6/3)
- ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น (1.1 .6/5)
- เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ(1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้ (1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส 3.1
 เข้าใจและรู้จักบทบาทของตนเอง
(3.1 .6/1)
มาตรฐาน ง1.1
- ใช้ทักษะในการทำงานได้ด้วยตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 
 (1.1 .6/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1 .6/3)
- สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล (1.1 .1/3)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์และไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม
(2.1.2/4)
มาตรฐาน พ 2.1
สร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและต่อสมาชิกในกลุ่มเพื่อนร่วมชั้นในการตั้งชื่อหน่วยและวางแผนการเรียนรู้ได้
(2.1 . 6/1)
มาตรฐาน ศ1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยใช้เทคนิคเรื่องสี แสง เงา ความกลมกลืน สื่อถึงเรื่องราวที่อยากศึกษาได้
(1.1 .6/1-7)

มาตรฐาน ส 4.1
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องที่อยากเรียนรู้       (ส 4.1  ป.6/2)
มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาทและยอมรับในความคิด และความเชื่อของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้ ได้
(2.1 .6/ 3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(2.1. 1/4)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
1. สารและสมบัติของสาร
- สถานะ
- การจำแนก
- การเลือก /นำไปใช้
- การเปลี่ยนแปลง

มาตรฐาน ว 3.1
- เข้าใจและสามารถทดลองสมบัติของของแข็ง ของเหลวและก๊าซได้
(3.1 .6/1 )
- จำแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้สถานะหรือเกณฑ์อื่นที่กำหนดเอง (3.1 .6/2 )
- ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสมกันโดยการร่อน การตกตะกอน การกรอง การระเหิด และการระเหย
(3.1 .6/3 )
- สำรวจและจำแนก
ประเภทของสารต่างๆที่ใช้ในชีวิตประจำวันโดยใช้สมบัติและการใช้ประโยชน์ของสารเป็นเกณฑ์
(3.1 .6/4 )
- อภิปรายการเลือกใช้สารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
(3.1 .6/5 )
มาตรฐาน ว 3.2
- ทดลองและอภิปรายสมบัติของสารเมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ
(3.2 .6/1 )
- อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
(3.2 .6/3 )
มาตรฐาน ส 1.1
- เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนเป็นคนดีเท่าที่จะเป็นได้
(1.1 .6/3 )
- วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ
(ส 1.1 .3/10 )
มาตรฐาน ส 1.2
- อธิบายความรู้เกี่ยวกับสถานที่ต่างๆในศาสนสถานและมีมารยาทในการเป็น
ศาสนิกชนที่ดี
(ส 1.2 .6 /1/2 )
- อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธีกรรม ตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆเพื่อนำไปสู่การยอมรับ และความเข้าใจซึ่งกันและกัน
 (ส 1.2 .2 /5 )
- สามารถเสนอแนะแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ตนนับถืออันส่งผลถึงการพัฒนาตนและพัฒนาโลก (ส 1.2 .4 /5 )

มาตรฐาน ง 1.1
- อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
(ง 1.1 .6 /1 )
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
(ง 1.1 .1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(ง 1.1 .1 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน(ง 1.1 .4 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 .4 /5 )
มาตรฐาน ง 3.1
- ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล
(ง 3.1 .6 /2 )
- เก็บรักษาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ
(ง 3.1 .6 /3 )
- ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
(ง 3.1 .1 /3 )

มาตรฐาน พ 4.1
แสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
(พ4.1 .6 /1 )
- เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย
(พ4.1 .1 /1)
- วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลต่อสุขภาพ
(พ4.1 .1 /2)
มาตรฐาน ศ1.1
- ระบุคู่สีตรงข้ามและอภิปรายเกี่ยวกับการใช้สีคู่ตรงข้ามในการถ่ายทอดความคิด และอารมณ์
(ศ 1.1  ป.6/1)
- สร้างงานทัศนศิลป์ผ่านเป็นแผนภาพแผนผังและภาพ ประกอบเกี่ยวกับสารและสมบัติของสาร เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(ศ 1.1  ป.6/7)

มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ของประเทศไทยจากหลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 .6/2)
- ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐาน ในลักษณะต่างๆ (ส 4.1 ม.2/1)

มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาทและยอมรับในความคิด และความเชื่อของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเอง ได้ (2.1 .6/ 3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(2.1. 1/4)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
2. พลังงานไฟฟ้า
- การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานและอนุกรม
- การเลือกใช้หลอดไฟ
- ที่มาและความสำคัญของพลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1
- ทดลองและอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
(ว 5.1 .6/1 )
- ทดลองและอธิบายตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า
(ว 5.1 .6/1 )
- ทดลองและอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 5.1 .6/1 )
- ทดลองและอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรม  แบบขนาน  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์             
(ว 5.1 .6/1 )
มาตรฐาน ว 8.1
นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 .6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
(1.1 .6/3)
- ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
(1.1 .6/5)
- เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ(1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้ (1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส 3.1
 เข้าใจและรู้จักบทบาทของตนเอง
(3.1 .6/1)
มาตรฐาน ง1.1
- ใช้ทักษะในการทำงานได้ด้วยตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(1.1 .6/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น(1.1 .6/3)
- สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล (1.1 .1/3)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์และไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม
(2.1.2/4)
มาตรฐาน พ 2.1
สร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและต่อสมาชิกในกลุ่มเพื่อนร่วมชั้นในการทำงานและจัดชุดความรู้ได้
(2.1 . 6/1)
มาตรฐาน ศ1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยใช้เทคนิคเรื่องสี แสง เงา ความกลมกลืน สื่อถึงเรื่องราวที่ศึกษาได้
(1.1 .6/1-7)

มาตรฐาน ส 4.1
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องที่เรียนรู้                
(ส 4.1  ป.6/2)
มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาทและยอมรับในความคิด และความเชื่อของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการอภิปรายงานได้
(2.1 .6/ 3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(2.1. 1/4)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
3. ระบบต่างๆทั้งภายในและภายนอก
- คน
- สัตว์
- พืช
มาตรฐาน ว 1.1
- อธิบายการเจริญเติบโตของมนุษย์จากวัยแรกเกิดจนถึงวัยผู้ใหญ่
(1.1 .6/1)
- อธิบายการทำงานที่สัมพันธ์กันของระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ และระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
(1.1 .6/2)
- วิเคราะห์สารอาหารและอภิปรายความจำเป็นที่ร่างกายต้องได้รับสารอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย
(1.1 .6/3)
- สังเกตและอธิบายรูปร่าง  ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
(1.1 .1/1)
มาตรฐาน ว 8.1
นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 .6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
(1.1 .6/3)
- ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
(1.1 .6/5)
- เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ(1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้ (1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส 3.1
 เข้าใจและรู้จักบทบาทของตนเอง
(3.1 .6/1)
มาตรฐาน ง1.1
- ใช้ทักษะในการทำงานได้ด้วยตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(1.1 .6/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น(1.1 .6/3)
- สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล (1.1 .1/3)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์และไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม
(2.1.2/4)
มาตรฐาน พ 2.1
สร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและต่อสมาชิกในกลุ่มเพื่อนร่วมชั้นในการทำงานและจัดชุดความรู้ได้
(2.1 . 6/1)
มาตรฐาน ศ1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยใช้เทคนิคเรื่องสี แสง เงา ความกลมกลืน สื่อถึงเรื่องราวที่ศึกษาได้
(1.1 .6/1-7)

มาตรฐาน ส 4.1
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องที่เรียนรู้                
(ส 4.1  ป.6/2)
มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาทและยอมรับในความคิด และความเชื่อของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการอภิปรายงานได้
(2.1 .6/ 3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(2.1. 1/4)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
4. หินและแร่
- ประเภท
- การจำแนก
- การเกิด/แหล่งที่มา
- การนำไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว 6.1
- อธิบาย จำแนกประเภทของหิน โดยใช้ลักษณะของหิน สมบัติของหินเป็นเกณฑ์และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 6.1 .6/1)
- สำรวจและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของหิน 
 (ว 6.1 .6/2)      
สืบค้นและอธิบายธรณีพิบัติภัยที่มีผลต่อมนุษย์และสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น (ว 6.1 .6/3)      
- สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการ  แบ่งชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก
(ว 6.1 .1/1)    
มาตรฐาน ว 8.1
นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 .6/8
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต (1.1 .6/3)
- ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
(1.1 .6/5)
- เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ(1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้ (1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส 3.1
 เข้าใจและรู้จักบทบาทของตนเอง
(3.1 .6/1)
มาตรฐาน ง1.1
- ใช้ทักษะในการทำงานได้ด้วยตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(1.1 .6/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น(1.1 .6/3)
- สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล (1.1 .1/3)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์และไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม
(2.1.2/4)
มาตรฐาน พ 2.1
สร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและต่อสมาชิกในกลุ่มเพื่อนร่วมชั้นในการทำงานและจัดชุดความรู้ได้
(2.1 . 6/1)
มาตรฐาน ศ1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยใช้เทคนิคเรื่องสี แสง เงา ความกลมกลืน สื่อถึงเรื่องราวที่ศึกษาได้ (1.1 .6/1-7)

มาตรฐาน ส 4.1
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องที่เรียนรู้                (ส 4.1  ป.6/2)
มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาทและยอมรับในความคิด และความเชื่อของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการอภิปรายงานได้
(2.1 .6/ 3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(2.1. 1/4)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
5. ภูมิศาสตร์
- ลักษณะทางกายภาพและทางสังคมของไทยและเพื่อนบ้าน
- ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ในแต่ละภูมิภาค
- สาเหตุการเปลี่ยน แปลงทางธรรมชาติในไทย
- ทรัพยากรธรรมชาติ

มาตรฐาน 2.1
- สำรวจและอภิปรายความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ต่างๆ (ว 2.1 .6/1)
- สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมในท่องถิ่น
(ว 2.1 .6/3)
มาตรฐาน 2.2
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรในแต่ละภูมิภาค (ว 2.2 .6/1)
- สามารถวิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ (ว 2.2 .6/2)
- อภิปรายผลต่อสิ่งมีชีวิตจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทั้งโดยธรรมชาติและโดยมนุษย์ (ว 2.2 .6/3 )
มาตรฐาน ว 8.1
- เข้าใจและสามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
 (ว 8.1 .6/1 )
- เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบข้อมูล
(ว 8.1 .6/3 )
- เข้าใจและสามารถนำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 .6/8 )
มาตรฐาน ส 5.1
- ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ( แผนที่ ภาพถ่ายชนิดต่างๆ ลูกโลก กราฟ ) ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมประเทศ 
5.1 .6/1 )
- อธิบายความ
สัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของประเทศ
(ส 5.1 .6/2 )
- เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ เชื่อมโยงสาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปต่างๆ (ส 5.1 .1/3 )
มาตรฐาน ส 5.2
- เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ
(ส 5.2 .6/1 )
- เข้าใจและสามารถอธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบันและผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
(ส 5.2 .6 /2 )
- เข้าใจและสามารถวิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปต่างๆของโลกได้
(ส 5.2 .2 /4 )
มาตรฐาน ง 1.1
- อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
(ง 1.1 .6 /1 )
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง 1.1 .6 /3 )
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ (ง 1.1 .1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(ง 1.1 .1 /3 )
-ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(ง 1.1.4 /7 )
มาตรฐาน พ 1.1
แสวงหาแนวทางในการพัฒนา
ตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย
(พ 1.1 ม.1/4)
มาตรฐาน พ 2.1
เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
(พ 2.1 ป.6/1)
มาตรฐาน พ 5.1
- วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย จิตใจ และสังคม
(พ5.1 .6 /1 )
- ระบุวิธีปฏิบัติตน เพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
(พ5.1 .6 /2 )
มาตรฐาน ศ1.1
- ระบุคู่สีตรงข้ามและอภิปรายเกี่ยวกับการใช้สีคู่ตรงข้ามในการถ่ายทอดความคิด และอารมณ์
(ศ 1.1  ป.6/1)
- สร้างงานทัศนศิลป์ผ่านเป็นแผนภาพแผนผังและภาพ ประกอบเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางกายภาพของประเทศไทย  เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(ศ 1.1  ป.6/7)



มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ของประเทศไทยจากหลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจและการปกครองของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน
(ส 4.2 .6/1)


มาตรฐาน ส 2.1
- ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของครอบครัวและชุมชน
(ส 2.1 .6/1)
- แสดงออกถึงมารยาทไทยที่เหมาะสมกับกาลเทศะ
(ส 2.1 .6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 .6/5)
มาตรฐาน ส 2.2
เข้าใจและสามรถเปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ขององค์กรต่างๆได้
(ส 2.2 .6/1)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
6. ประวัติศาสตร์ ของไทย
- อยุธยา
- ธนบุรี
- สุโขทัย
- รัตนโกสินทร์

มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่อยากศึกษาได้
(8.1 .6/1 )
- วางแผนการสังเกต
การสำรวจ เสนอ ตรวจสอบและคาดการณ์สิ่งที่จะพบได้ (8.1 .6/2 )
- ตั้งคำถามใหม่เพื่อการสำรวจ ได้อย่างมีเหตุผล (8.1 .6/5)
- สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างทางการเมืองการปกครองของประเทศต่างๆทั่วโลก (ว 8.1 .6/6 )
- นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (ว 8.1 .6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
(1.1.6/3)
- ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
(1.1.6/5)
- เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ (1.1 .6/7)

มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
(ง 1.1 .1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(ง 1.1 .1 /3)
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน 
(ง 1.1 .4 /4 )
มาตรฐาน ง 3.1
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
(ง 3.1 .3 /3)

มาตรฐาน พ 1.2
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น (พ1.2 .6/1)
มาตรฐาน พ 4.1
เสนอแนะวิธีปฏิบัติตน เพื่อจัดการกับอารมณ์และความเครียดที่เกิดจากปัญหาทางด้านการเมือง
(พ 4.1 .2 /6 )
มาตรฐาน ศ 1.1
สร้างงานผ่านการวาดภาพตกแต่งผลงานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(ศ 1.1 ป.6/7)

มาตรฐาน ส 4.3
อธิบายพัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ โดยสังเขป
(ส 4.3 .6/1 )
- อธิบายปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ 
(ส 4.3 .6/2)
- ยกตัวอย่างผลงานของบุคคลสำคัญด้านต่างๆสมัยรัตนโกสินทร์
อธิบายภูมิปัญญาไทยที่สำคัญสมัยรัตนโกสินทร์ที่น่าภาคภูมิใจ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้
(ส 4.3 .6/3)
- อธิบายเรื่องราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทยโดยสังเขป
(ส 4.3 .1/1)


มาตรฐาน ส 2.1
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันได้
(ส 2.1 .6/5 )
- วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว  ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก
(ส 2.1 .4/1 )
มาตรฐาน ส 2.2
- วิเคราะห์เปรียบเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ (ส 2.2 .3/2)
- เสนอแนวทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
(ส 2.2 .4/2)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
- สรุปและนำเสนอหน่วย
- การตกผลึกความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้มาทั้งหมด

มาตรฐาน ว 8.1
- ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ได้
(8.1 .6/1 )
- วางแผนการตรวจสอบสิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนาต่อได้
(8.1 .6/2)
- เลือกอุปกรณ์ในนำเสนอผลงานที่เหมาะสม และน่าเชื่อได้ 
(8.1 .6/3 )
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปเรื่องที่ได้เรียนรู้ได้
(8.1 .6/6 )
 - นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (8.1  ป.6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต (1.1 .6/3)
- ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
(1.1 .6/5)
- เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ
(1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้
(1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส3.1
 เข้าใจและรู้จักบทบาทของตนเอง
(3.1 .6/1)
มาตรฐาน ส5.2
อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติจากอดีตถึงปัจจุบันและผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้นได้ (5.2 .6/2)
 มาตรฐาน   ง 1.1
- เข้าใจและสามารถอภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
(1.1 .6 /1 )
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ  
(1.1 .1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1 .1 /3 )
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1  ป.6 /3)
มาตรฐาน   ง 3.1
- เข้าใจและสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในนำเสนองานได้
(3.1  ป.6 /2)
- สามารถเก็บข้อมูลในรูปแบบต่างๆได้
(3.1  ป.6 /3)
มาตรฐาน  พ 2.1
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
( 2.1.6/1 )
มาตรฐาน  พ 3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน                  
( 3.1.4/2 )
มาตรฐาน  พ 4.1
- เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัยได้
( 4.1.1/1 )
- เข้าใจและสามารถ
วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากสังคมโลกต่อสุขภาพได้
( 4.1.1/2 )

มาตรฐาน ศ1.1
- เข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวที่เรียนมาทั้งหมดผ่านวาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี (1.1 .6/1)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบสรุปความรู้ความเข้าใจ ได้
(1.1  ป.6/7)
มาตรฐาน ศ3.1
ออกแบบ สร้างสรรค์นำเสนอละครหน้ากากประยุกต์ เรื่องสั้นได้ (3.1  ป.6/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- อธิบายความสำคัญของเรื่องที่ศึกษาผ่าน Time line
(4.1  .6/1)
- นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องที่เรียนได้ 
(4.1  .6/2)

มาตรฐาน ส2.1
- เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ          
(2.1 .6/3)
- เห็นคุณค่าของเรื่องที่เรียนที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย    
 (2.1 .6/4)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม (2.1  ป.6/5)
- เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น
(2.1  ม.1/4)







1 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ29 มกราคม 2565 เวลา 06:39

    Betway 1xBet Korean | 1xbet Korean | 1xbet Korean |
    Betway is 제왕 카지노 a multi-award winning Asian Handicap betting 1xbet market. This game provides a lot of value in terms of งานออนไลน์ football betting. The game has 5

    ตอบลบ